Page 8 - FMS Annual Report
P. 8

PAGE | 08

       ประวัติ                                    บริบทงานหน่วยจัดการงานวิจัยและ

                                                  พันธกิจสัมพันธ์กับสังคมคณะวิทยาการจัดการ




                                       พ.ศ. 2546 จุดเริ มต้นของการวิจัย  ได้มีการทําชุดโครงการ 11  ชุดโครงการ
                                       (สรภ.) ร่วมกับรองศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรนภา พรหมมา ซึ งดํารงตําแหน่งรอง
                                       อธิการบดีฝ ายวิจัยและพัฒนา ขณะนั น โดยมีงานวิจัยของคณะวิทยาการจัดการ
                                       จํานวน 2 เรื อง
                                       พ.ศ. 2549 การทําโครงการวิจัยเชิงพื นที มากขึ นในโครงการ Window  และ
                                       โครงการ  ABC (Area Base Collaborative)

                                       พ.ศ. 2550  จัดตั ง “หน่วยจัดการงานวิจัย คณะวิทยาการจัดการ” โดยมีผู้ช่วย
                                       ศาสตราจารย์
                                       ดร.ป ญณิตา ชัยสนิท ดํารงตําแหน่งหัวหน้าหน่วยจัดการงานวิจัย
                                       พ.ศ. 2551 ดําเนินงานวิจัยชุดโครงการประเมินผล  กทบ. (กองทุนหมู่บ้านชุมชน
                                       เมือง)  จํานวน  40  โครงการของประเทศไทยทั งหมด  โดยคณะวิทยาการ
                                       จัดการดําเนินงานวิจัยเรื องการวิจัยและพัฒนาเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื อ

                                       เสริมสร้างการบริหารจัดการที ดีของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองจังหวัด
                                       อุตรดิตถ์
                                       พ.ศ.2551-2553 ได้รับจัดสรรทุนจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
                                       (สกอ.) สนับสนุนพัฒนาอัตลักษณ์กลุ่มวิจัยโครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื อ
                                       การผลิตและพัฒนาอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา ภายใต้ชุดโครงการเรื อง “กลุ่ม
                                       วิจัยพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนเพื อยกระดับคุณภาพเชิงพาณิชย์” (CHE-
                                       RES-IG)

                                       พ.ศ.2551-2554 มหาวิทยาลัยได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยเพื อดําเนินโครงการ
                                       สร้างเสริมสุขภาวะเพื อความอยู่ดีมีสุขของชุมชนโดยความร่วมมือขององค์กร
                                       ท้องถิ นจังหวัดอุตรดิตถ์ และโครงการสร้างเสริมสุขภาวะจังหวัดอุตรดิตถ์ : ท่า
                                       เหนือเมืองน่าอยู่  จากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
                                       ในการทํางานร่วมกับภาคีเครือข่ายภายนอก เกิดนวัตกรรมการบริหารจัดการ

                                       แบบบูรณาการเพื อพัฒนาพื นที โดยความร่วมมือขององค์กรปกครองส่วนท้อง
                                       ถิ นและองค์กรภาคีอย่างเป นระบบ เชื อมโยงการจัดการงานวิจัยของทุกคณะกับ
                                       งานพัฒนาตําบลโดยหน่วยจัดการงานวิจัย (Research Management Unit:

                                       RMU) และทีมงานที เชื อมกับตําบลของแต่ละคณะจะเชื อมข้อมูลสถานการณ์
                                       ป ญหาจากพื นที เพื อการวิจัยและปฏิบัติพันธกิจแบบบูรณาการอย่างมีส่วนร่วม
                                       กับเครือข่ายองค์กรภาคี องค์ประกอบหลักของรูปแบบการบริหารจัดการ  มี 4
                                       ด้านหรือที เรียกว่า RICN Model ได้แก่ 1) การสร้างองค์ความรู้และการจัดการ

                                       ความรู้ควบคู่กับการทํางาน (Research : R) 2) การบูรณาการพันธกิจและ
                                       ศาสตร์ทุกสาขากับป ญหาในพื นที   (Integration : I) 3) การไหลเวียนของ
                                       ข้อมูลเพื อการสื อสารที ทันต่อความเปลี ยนแปลงเพื อใช้ประโยชน์
                                        (Communication : C)  และ 4) เครือข่ายการเรียนรู้และการทํางานทั งภายใน
                                       และภายนอกสู่เป าหมายร่วมพัฒนา  (Network : N) ผลงานดังกล่าวจึงเป นรูป
                                       แบบเฉพาะเป นที กล่าวขานและศึกษาดูงานของมหาวิทยาลัยอื นมาอย่างต่อเนื อง

                                       คือ การดําเนินงานแบบบูรณาการพันธกิจแบบมีส่วนร่วมเพื อพัฒนาพื นที  หรือ
                                       เรียกสั น ๆ ว่า “อุตรดิตถ์โมเดล”
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13