Page 9 - FMS Annual Report
P. 9
PAGE | 09
ประวัติ บริบทงานหน่วยจัดการงานวิจัยและ
พันธกิจสัมพันธ์กับสังคมคณะวิทยาการจัดการ
พ.ศ.2554 ได้มีการออกแบบให้มีการเชื อมโยงกลไกสนับสนุนวิชาการระหว่าง
มหาวิทยาลัยกับเครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ นโดยแต่ละองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ นมีการแต่งตั งหน่วยจัดการความรู้และวิจัยชุมชนระดับ
ตําบล (TRMU) ของแต่ละตําบลขึ นเพื อให้เป นทีมวิชาการที เชื อมการทํางานกับ
มหาวิทยาลัยและภาคี
พ.ศ.2554-2556 มีการทํางานเป นแบบบูรณาการศาสตร์ต่างๆ เข้ามาทํางาน
ร่วมกัน มีการตั งคณะทํางานกลางที มาจากคณะเพื อขับเคลื อนงาน โครงการ
ศึกษาและพัฒนาระบบการจัดการธุรกิจเกษตรข้าวอินทรีย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
อุตรดิตถ์กับเครือข่ายเกษตรกร องค์ท้องถิ นจังหวัดอุตรดิตถ์และภาคี เป นการ
ประสานการทํางานร่วมกันของคณาจารย์ใน 6 คณะผ่านการจัดการโครงการ
วิจัยทั งหมด 27 โครงการ เป นโครงการวิจัยที ดําเนินงานโดยบุคลากรของคณะ
วิทยาการจัดการ จํานวน 4 โครงการ และโครงการวิจัยดังกล่าวเป นหนึ งในผล
งานวิจัยเด่นของ สกว. ประจําป 2556
พ.ศ.2553-2554 อาจารย์ศรีไพร สกุลพันธ์ เป นหัวหน้าหน่วยจัดการงานวิจัย
และบริการวิชาการ
พ.ศ.2555-2556 อาจารย์ ดร.ศิริกานดา แหยมคง เป นหัวหน้าหน่วยจัดการงาน
วิจัยและบริการวิชาการ
ภายใต้การบริหารงานของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิราวัฒน์ ชมระกา คณบดี
คณะวิทยาการจัดการ โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิ งดาว จินดาเทวิน เป นรอง
คณบดีฝ ายวิชาการ
พ.ศ.2556 มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้อง
ถิ นและมหาวิทยาลัยในโครงการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติ
ราชการ และการสํารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการองค์การบริหารส่วนตําบล
ท้องถิ นและเทศบาลตําบล จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดแพร่ และจังหวัดสุโขทัยและ
ได้ดําเนินงานมาจนถึงป พ.ศ.2560
การรับทุนสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนอื น ๆ เช่น กรมส่งเสริม
อุตสาหกรรม และการสร้างเครือข่ายภายนอกจากสํานักงานคณะกรรมการ
กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)
โดยได้รับทุนสนับสนุนตั งแต่ป พ.ศ. 2556 จนถึงป พ.ศ. 2560
พ.ศ.2557 อาจารย์ธิดารัตน์ เหมือนเดชา เป นหัวหน้าหน่วยจัดการงานวิจัยและ
บริการวิชาการ
พ.ศ.2557-2559 โครงการศึกษาและพัฒนาการจัดการธุรกิจเกษตรเพื อลด
ความเสียเปรียบของเกษตรกรกลไกการตลาดข้าวอินทรีย์และทุเรียนหลงลับแล
จังหวัดอุตรดิตถ์ จากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยใช้กลไก
ระบบบริหารงานวิจัยแบบบูรณาการของมหาวิทยาลัยที ส่งเสริมธุรกิจเกษตร
เชื อมโยงประเด็นความเสียเปรียบในกลไกตลาดของเกษตรกรข้าวอินทรีย์และ
ทุเรียนหลงลับแลควบคู่กับการพัฒนาศักยภาพในด้านการจัดการงานวิจัยให้มี
ประสิทธิภาพสูงขึ น โดยใช้ประเด็นโจทย์ความเสียเปรียบกลไกการตลาดของ
ระบบการผลิตทุเรียนหลงลับแลจังหวัดอุตรดิตถ์เป นโจทย์สําคัญ